หลวงพ่อเขียน ผู้เป็นบุคคลในตำนานให้คนรู้จักการเดินเท้าขึ้นเขาคิชฌกูฏ เพื่อนำมัสการรอยเท้าพระพุทธบาท

เชื่อว่าหลายคนคงรู้จักเขาคิชฌกูฏกันเป็นอย่างดี  การเดินเท้าขึ้นเขาคิชฌกูฏ  โดยเขานี้เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวที่น่าสนใจเกี่ยวกับการกราบไหว้ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์มักจะเดินทางมากราบไหว้ขอพรบนยอดเขาคิชฌกูฏกันเป็นอย่างดีเนื่องจากว่าที่บนยอดเขานั้นจะมีรอยเท้าของพระพุทธเจ้าเรียกว่ารอยพระพุทธบาทขนาดไหนปรากฏอยู่และที่เขาคิชฌกูฏแห่งนี้ไม่ได้เปิดให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทตลอดทั้งปีแต่จะเปิดเฉพาะแค่ช่วงเวลาเท่านั้น

        ซึ่งโดยปกติแล้วการที่จะเปิดให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทนั้นจะจัดขึ้นช่วงประมาณเดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคมโดยทางผู้ดูแลเขาคิชฌกูฏจะมีการประกาศผ่านสื่อต่างๆก่อนที่จะมีการเปิดให้ประชาชนเข้าไปนมัสการซึ่งเรื่องที่มีการเปิดให้ประชาชนขึ้นไปนมัสการรอยพระพุทธบาทนั้นประชาชนจะสามารถเดินทางขึ้นไปได้ตลอด 24 ชั่วโมง

โดยจะมีเจ้าหน้าที่คอยอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยให้อย่างไรก็ตามเชื่อว่าหลายคนอาจจะไม่เคยรู้ว่าคนแรกที่พบเจอรอยเท้าพระพุทธบาทบนเขาคิชฌกูฏและเป็นบุคคลในตำนานที่ทำให้ปัจจุบันผู้คนหันไปสนใจที่จะขึ้นไปบนยอดเขาคิชฌกูฏเพื่อไปกราบไหว้ขอพรรอยเท้าพระพุทธบาท นั้นเป็นใครวันนี้เราจะมาแนะนำข้อมูลเหล่านี้ให้ทราบกัน 

         การเดินเท้าขึ้นเขาคิชฌกูฏ สำหรับบุคคลแรกที่เป็นบุคคลในตำนานที่ได้รับความเคารพนับถือจากชาวจังหวัดจันทบุรีนั้นก็คือหลวงพ่อเขียนนั่นเองซึ่งท่านนั้นเป็นพระครูนักพัฒนานำความเจริญรุ่งเรืองมาสู่วัดในจังหวัดจันทบุรีอย่างแท้จริงและท่านยังเป็นผู้นำเป็นผู้ที่ค้นพบรอยพระพุทธบาทบนยอดเขาคิชฌกูฏเป็นคนแรกเนื่องจากว่าหลวงพ่อเขียนนั้นท่านชอบทำจิตภาวนาจึงมักจะพูดลงไปยังสถานที่ต่างๆและหนึ่งในสถานที่ที่หลวงพ่อเขียนเดินธุดงค์ไปนั่นก็คือบนยอดเขาคิชฌกูฏนั่นเอง

           ซึ่งแน่นอนว่าตลอดระยะเวลาที่ท่านมีชีวิตอยู่นั้นท่านมีการยึดถือปฏิบัติเดินทางไปจิตตั้งจิตภาวนาที่บนยอดเขาคิชฌกูฏอยู่บ่อยครั้งเนื่องจากบนนั้นจะมีรอยเท้าพระพุทธบาทของพระพุทธเจ้าอยู่ทำให้หลังจากที่ผู้คนรู้ว่าบนยอดเขาคิชฌกูฏนั้นมีรอยเท้าพระพุทธบาทก็ได้มีการตัดการเดินขึ้นเขาคิชฌกูฏเป็นประจำขึ้นทุกปีเพื่อที่จะให้ประชาชนได้มีโอกาสไปกราบไหว้ขอพรรอยเท้าพระพุทธบาทนั้นเองซึ่งระยะเวลาที่จะมีการขึ้นไปนั้นจะเปิดโอกาสให้ประชาชนขึ้นไปบนยอดเขาคิชฌกูฏแค่ประมาณ 2 เดือนเพียงเท่านั้น

            สำหรับการค้นพบรอยเท้าพระพุทธบาทบนยอดเขาคิชฌกูฏนั้นหลวงพ่อเขียนค้นพบช่วงเวลาประมาณปีพ.ศ 2397 และเป็นการเผยแพร่ให้กับประชาชนที่มาฟังคำสั่งสอนเทศนาของหลวงพ่อเขียนได้รู้ว่าบนยอดเขาคิชฌกูฏนั้นมีรอยเท้าพระพุทธบาทและท่านก็ส่งเสริมให้คนขึ้นไปกราบไหว้รอยพระพุทธบาทนั้นเอง 

 

สนับสนุนโดย.    สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ

การเกิดสงครามครูเสดครั้งที่3

การเกิดสงครามครูเสดครั้งที่3 สงครามครูเสดครั้งที่สามเกิดขึ้นในปี ค.ศ.1189 โดยในครั้งนี้มีกษัตริย์พระองค์สำคัญจากยุโรปเข้าร่วมถึงสามพระองค์คือพระเจ้าแห่งโรมันอันศักดิ์สิทธิพระเจ้าฟิลิปแห่งฝรั่งเศสพระเจ้าริชาร์ดที่1แห่งอังกฤษ

โดยทั้งสามพระองค์ได้ตกลงกันว่าจะยกทัพของตนไปรบกับพวกมุสลิมเพื่อยึดเอานครเยรูซาเล็มกลับคืนมาเป็นของชาวคริสเตียนให้ได้หากแต่การเดินทัพครั้งนี้เต็มไปด้วยอุปสรรคมากมายต้องเกิดการสูญเสียครั้งใหญ่เนื่องจากพระเจ้าฟิลิปประสบอุบัติเหตุจนน้ำสิ้นพระชนม์

เมื่อต้องสูญเสียแม่ทัพคนสำคัญผู้เป็นถึงพระราชาเหล่านักรบอาณาจักรโรมันส่วนใหญ่จึงหมดกำลังที่จะต่อสู้พากันหันทัพกลับบ้านเกิดอย่างไรก็ตามดูเหมือนว่าปัญหาพวกยุโรปด้วยกันจะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาแม้จะเหลือเพียงสองกองทัพที่มุ่งหน้าสู่เยรูซาเล็ม

กองทัพของพระเจ้าฟิลิปและพระเจ้าริชาร์ดที่หนึ่งก็ดูเหมือนจะต้องมีเรื่องที่ทะเลาะกันอยู่เสมอจนกระทั่งในปีค.ศ.1191เมื่อก่อน การเกิดสงครามครูเสดครั้งที่3 ทัพยุโรปสามารถตีเอาเมืองRKมาได้พระเจ้าฟิลิปก็ได้ยกทัพของตนกลับฝรั่งเศสส่วนพระเจ้าริชาร์ดที่หนึ่งได้ยกทัพต่อไปยังกรุงเยรูซาเล็ม

เพื่อทำสงครามชิงเมืองขึ้นศึกชิงเมืองเยรูซาเล็มดำเนินอยู่สองงปีกองทัพของพระเจ้าริชาร์ดที่หนึ่งก็ยังมิอาจจะตีเอาเมืองเยรูซาเล็มเมื่อไม่เห็นทางที่จะเอาชนะสรดินได้พระเจ้าริชาร์ดที่หนึ่งจึงได้ขอทำสัญญาสงบศึกโดยได้ทำไมตีร่วมกับสรดินขอให้พวกเติร์กยินยอมให้ชาวคริสเดินทางไปยังเยรูซาเล็มได้สะดวกกล่าวกันว่าพระเจ้าริชาร์ดที่หนึ่งและสรดินนั้นถูกอัธยาศัยกันมาก

ซึ่งต่างฝ่ายต่างก็ได้ชื่นชมกันและยกย้องอีกฝ่ายว่าเป็นมหาบุรุษดังนั้นจึงยอมผ่อนปนและตอบสนองข้อเรียกร้องของอีกฝ่ายอย่างง่ายดายหลังจากสงครามครูเสดครั้งนี้พวกชาวคริสเตียนที่อาศัยอยู่ดินแดนแทบนี้ยังคงเหลืออยู่ในแทบRKในอีกหลายแห่ง

ในขณะที่พวกเติร์กได้ครองนครศักดิ์เยรูซาเล็มต่อไปแต่ก็ยินยอมให้ชาวคริสเตียนได้เดินทางมายังนครเยรูซาเล็มได้โดยเสรีสงครามครูเสดได้สงบลงไปในระยะหนึ่งจนกระทั่งได้มีผู้นำคนสำคัญของพวกเติร์กได้สิ้นชีวิตลงในปีค.ศ1113ทำให้อาณาจักรของพวกเติร์กในเวลานั้นเกิดความแตกแยกสมเด็จสันตะปาปาอินโนเซ้นที่สามทรงเห็นโอกาสที่จะเข้าไปตีเอากรุงเยรูซาเล็มคืน

ดังนั้นพระองค์ทรงได้พยายามชักจูงให้ชาวคริสเตียนรวมตัวกันเพื่อทำสงครามแต่ปรากฎว่าบรรดากษัตริย์ในประเทศต่างๆกำลังยุ่งกับภาระอยู่ภายในประเทศจึงได้มีแค่เพียงเหล่าขุนนางรวมทั้งผู้ที่เข้าร่วมผจญภัยเท่านั้นที่เข้าร่วมสงครามครูเสดในครั้งที่สี่

 

สนับสนุนโดย.    สมัคร gclub ไม่มีขั้นต่ำ