ประเพณีการฉลองปีใหม่ที่แปลกประหลาด

ในช่วงเทศกาลวันปีใหม่ ผู้คนแต่ละประเทศจะมีการเฉลิมฉลองกัน ซึ่งเราจะนำข้อมูลเกี่ยวกับประเทศที่มีการฉลองช่วงปีใหม่ที่แปลกประหลาด เรียกได้ว่าทำกันเป็นประเพณีประจำทุกปี มาให้ทราบกัน

ชิลี ฉลองปีใหม่ในสุสาน 

      เมืองทาค่า เมืองเล็กๆในประเทศชิลีซึ่งมีประเพณีฉลองปีใหม่ที่แปลกตาอาจจะดูหลอนอยู่สักหน่อยพวกเขาจะใช้เวลาฉลองปีใหม่ในสุสานกับคนในครอบครัวที่เสียชีวิตไปแล้วซึ่งในทุกๆคืนวันปีใหม่ช่วงเวลาประมาณ 23:00 น สุสานที่มีแต่เสียงเพลงคลาสสิคบรรเลงและถูกประดับประดาไปด้วยแสงไฟสลัวสลัวประตูทางเข้าสุสานจะถูกเปิดขึ้น

โดยนายกของเมืองเล็กๆแห่งนี้เพื่อให้ชาวเมืองได้เข้าไปร่วมฉลองกับคนในครอบครัวที่จากไปแล้วในเวลา 24:00 น นี้พวกเขาเชื่อกันว่าครอบครัวควรจะเริ่มต้นปีใหม่พร้อมหน้าพร้อมตากันด้วยความรักถึงแม้จะตายไปแล้วก็ตาม 

 ประเพณีเขวี้ยงจาน ในประเทศเดนมาร์ก

        ประเพณีแปลกๆในวันปีใหม่ของประเทศเดนมาร์กก็คือการนำจานชามที่แตกได้ไปเขวี้ยงใส่ตามประตูบ้านของเพื่อนบ้านในวันสุดท้ายของปีและบ้านไหนที่มีเศษจาน และชามกองพะเนินอยู่หน้าบ้านมากที่สุดจะถือว่าบ้านนั้นจะโชคดีมากที่สุดแล้วหมายความว่าคนในบ้านนั้นมีเพื่อนและคนที่รักเยอะกว่าใครใครนั่นเอง นอกจากนั้นชาวเดนมาร์กยังมีประเพณีการกระโดดลงจากเก้าอี้ตอนเวลาเที่ยงคืนของวันขึ้นปีใหม่ด้วยเชื่อกันว่าเพื่อเป็นการขับไล่สิ่งชั่วร้ายออกไปและพร้อมกระโดดรับสิ่งดีๆในวันปีใหม่ 

    Ecuador เผาหุ่นไล่กา  

        ชาวเอกวาดอร์แต่ละบ้านจะประดิษฐ์หุ่นไล่กาเป็นตัวแทนของคนใดคนหนึ่งในบ้านด้วยเสื้อผ้าเก่าๆและด้านในของตัวคุณก็จะถูกยัดด้วยหนังสือพิมพ์เก่าและขี้เลื่อยเมื่อถึงเวลาเที่ยงคืนตรงพวกเขาจะออกมารวมตัวกันนอกบ้านและทำการเผาอุ่นพร้อมกับเผารูปถ่ายของสิ่งที่เป็นตัวแทนไปพร้อมกันอีกด้วยซึ่งสื่อถึงความหมายว่าเป็นการกำจัดสิ่งโชคร้ายต่างๆที่ประสบพบเจอมาในปีที่ผ่านมาแล้วเริ่มต้นปีใหม่กับชีวิตใหม่แต่ในปัจจุบันไม่ใช่เรื่องแปลกที่บางทีจะเห็นคุณของนักการเมืองหรือคนดังที่ถูกเผาในค่ำคืนนี้ด้วยเช่นกัน 

   โรมาเนียแต่งตัวเป็นหมี

       โรมาเนียประเทศที่มีประชากรหมีน้ำตาลเยอะมากที่สุดในยุโรปในช่วงวันปีใหม่ช่วงสัปดาห์สุดท้ายของเดือนธันวาคมชาวบ้านในโรมาเนียจะแต่งกาย คลุมด้วยหนังหมีจริงๆแล้วออกไปเดินตามท้องถนนเต้นรำดื่มฉลองและเยี่ยมเพื่อนฝูงซึ่งเป็นประเพณีหนึ่งที่เก่าแก่ของโรมันเนีย แม้ว่าจะยังไม่ชัดเจนว่าเก่าแก่แค่ไหนแต่พวกเขาถือว่าเป็นการขับไล่วิญญาณและสิ่งชั่วร้ายออกจากตัวให้หมดไป

 

สนับสนุนโดย.   Gclub ฝากถอนไม่มีขั้นต่ำ

ตำนาน อุ้มพระดำน้ำ ประเพณีดีงาม ของเมืองมะขามหวานจังหวัดเพชรบูรณ์

หากพูดถึงตำนานหรือ ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ นั้นในประเทศไทยเองมีประเพณีมากมายหลายจังหวัดด้วยกันเนื่องจากว่าพระพุทธรูปนั้นนับได้ว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่กับประเทศไทยหรือเป็นศักดิ์สิทธิ์ประจำบ้านเมืองและประจำจังหวัดคนไทยให้ความเคารพนับถือพระพุทธรูปกันเป็นอย่างมากดังนั้นจึงมีความเชื่อและความศรัทธาในพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในจังหวัดของตนเองและก่อเกิดเป็นตำนานเล่าขานกันต่อๆกันมามากมายหลายรุ่น

           สำหรับตำนานที่เราจะพูดถึงกันในครั้งนี้นั้นเป็นตำนานของจังหวัดเพชรบูรณ์เมืองมะขามหวานซึ่งตำนานที่ว่านั้นก็จะเป็นตำนานของการอุ้มพระพุทธรูปดำน้ำโดยพระพุทธรูปนั้นจะถูกอุ้มไปทำพิธีที่กลางลุ่มแม่น้ำป่าสักซึ่งองค์พระพุทธรูปที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือและใช้ประกอบพิธีตามตำนานนั่นก็คือพระพุทธมหาธรรมราชา  ซึ่งไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าพระพุทธรูปองค์นี้สร้างขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไหร่แต่เป็นพระพุทธรูปที่มีความงดงามมากโดยสร้างมาจากทองสำริดเป็นปรางค์สมาธิ

          อย่างไรก็ตามลักษณะของพระพุทธรูปนั้นถูกออกแบบมาในรูปแบบของศิลปะขอมและจากการตรวจสอบก็พบว่าพระพุทธรูปนี้เป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่อายุหลายร้อยปีโดยครั้งแรกนั้นมีชาวประมงคนหนึ่งได้มีการออกหาปลาด้วยการล่องเรือและทอดแหไปเรื่อยๆในแม่น้ำป่าสักแต่แล้ววันหนึ่งก็เกิดมีพายุฝนลมแรงขึ้นซึ่งพายุฝนนั้นตกหนักรุนแรงอย่างมากแต่เกิดขึ้นเพียงแค่เวลาไม่นานเท่านั้น

         ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ  หลังจากที่พายุสงบลงปรากฏว่ามีพระพุทธรูปองค์หนึ่งลอยตามน้ำมาทำให้ชาวประมงที่อยู่ในเหตุการณ์รวมถึงชาวบ้านเริ่มบ้านใกล้เรือนเคียงที่เห็นเหตุการณ์ต่างก็ ศรัทธาในพระพุทธรูปองค์นี้เป็นอย่างมากและได้มีการอัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำนำไปประดิษฐานที่วัดไตรภูมิหลังจากนั้นก็มีการถวายเครื่องประดับของกษัตริย์ให้กับพระพุทธรูปโดยเป็นชุดนักรบขอมสมัยโบราณ

           นับตั้งแต่ที่ชาวบ้านมีการอัญเชิญพระพุทธรูปมาไว้ที่วัดว่ากันว่าในทุกๆปีในช่วงของวันสารทซึ่งจะตรงกับวันแรม 15 ค่ำพระพุทธรูปจะหายไปจากวัดโดยที่ไม่มีใครรู้ว่าพระพุทธรูปหายไปไหนและชาวบ้านเมื่อออกตามหากันก็มักจะเห็นว่าพระพุทธรูปองค์เดิมนั้นจะรออยู่ในแม่น้ำซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ชาวบ้านเจอพระพุทธรูปครั้งแรกและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพอถึงวันสารทชาวบ้านก็จะมีการอัญเชิญพระพุทธรูปไปสกอร์พิธีดำน้ำตามประเพณีซึ่งปัจจุบันก็เรียกกันประเพณีว่าประเพณีอุ้มพระดำน้ำนั่นเอง 

         ปัจจุบันที่จังหวัดเพชรบูรณ์ยังสืบสานประเพณีต่อกันมาโดยคนที่จะมาอุ้มพระพุทธรูปไปประกอบพิธีดำน้ำนั้น ในสมัยโบราณจะต้องเป็นเจ้าเมืองหรือพ่อเมือง  แต่สำหรับในยุคปัจจุบันนั้นก็จะใช้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ดำเนินการเป็นประธานในพิธีอุ้มพระพุทธมหาธรรมราชาลงไปในน้ำป่าสัก ซึ่งประเพณีนี้ชาวบ้านเชื่อว่าจะสร้างความสงบร่มเย็นให้กับชาวจังหวัดเพชรบูรณ์นั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.   ufabet ฝากเงิน ออโต้