บริบทของยุโรป ช่วงพัฒนาเศรษฐกิจและปฏฺวัติอุตสาหกรรม

บริบทของยุโรป ช่วงพัฒนาเศรษฐกิจ นักปรัชญาต่างก็ตีความโลกนี้อย่างไปในทิศทางที่แตกต่างกันแต่สิ่งที่สำคัญก็คือแล้วจะเปลี่ยนแปลงมันยังไงคนที่มีความสนใจในเรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองคงจะคุ้นเคยกับวรีนี้เป็นอย่างดีเพราะเป็นการคัดลอกมาจากบทวิเคราะห์ว่าด้วยการวิพากษ์วิจารณ์แนวความคิดอยู่ในหนังสือปรัชญาเยอรมัน

อุดมการเยอรมันซึ่งตีพิมพ์ในปี1845 เขียนโดยคาร์ล มาร์กซ์ และวันนี้เราจะมาพูดถึงประวัติชีวิตของ คาร์ล มาร์กซ์ บริบททางประวัติศาสตร์ที่ทำให้แนวคิดของคาร์ลมาร์กซ์นั้นเติบโตและมีอิทธิพลสูงมากในสังคมของยุโรปจากวันที่เขาดำรงชีวิตอยู่ไปจนถึงวันที่เขาตายหรือแม้กระทั่งในยุคปัจจุบันกันด้วย

แต่ก่อนที่เราจะไปพูดถึงประวัติเราขอพูดถึงบริบทของประวัติศาสตร์กันก่อนทั้งคาร์ล มาร์กซ์และเพื่อนของเขาทั้งสองเป็นชาวเยอรมันที่เกิดและดำรงชีวิตในช่วงของศตวรรษที่19เหมือนกันเลยเราไปดูกันว่าบริบททางสังคมเศรษฐศาสตร์และการเมืองในยุคนั้นเป็นอย่างไรกันบ้าง

ในปลายศตวรรษที่28ก็คือหนึ่งศตวรรษก่อนหน้าก่อนถือกำเนิดของคาร์ลมาร์กซ์และเพื่อนโลกได้เห็นการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของโลกคือการประกาศเอกราชของบริติลของอเมริกาเหนือสหราชอาณาจักรจนก่อตั้งเป็นสหรัฐอเมริกา13ปีต่อมาในปี1789 คือการปฏิวัติฝรั่งเศสและล้มล้างราชวงศ์บูร์บง

แต่หลังศตวรรษที่19แล้วฝรั่งเศสกลับไปเป็นระบอบเผด็จการโดยจักรพรรดินโปเลียนซึ่งก่อนหน้านั้นเป็นกรมศุลสาธารณฝรั่งเศสรวบอำนาจสถาปนาตัวเองเป็นจักรพรรดิและนำฝรั่งเศสเข้าสู่สงครามที่เรียกกันว่าสงครามนโพลีนิคที่สิ้นสุดในปี1815หลังจากการสิ้นสุดสงครามก็นำไปสู่ยุคที่ยุโรปนั้นมีความสงบมากขึ้น

โดยสองสิ่งที่เกิดขึ้นในยุคดังกล่าวคือการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการล่าอาณานิคมรวมไปถึงกระแสรัฐชาติคือปรากฎการที่หลายๆชาติคนชาติเดียวกันผู้ภาษาเดียวกันแต่เดิมเคยอยู่แยกกระจายไปเป็นรัฐเล็กๆและเริ่มตระหนักถึงของความสำคัญของการรวบตัวกัน

เพื่อปกป้องภัยคุกคามจากชาติใหญ่เหมือนที่พวกเขาถูกภัยคุกคามจากจักรวรรดิฝรั่งเศสโดยศตวรรษนี้มีมีการรวมชาติของเยอรมันการรวมชาติของอิตาลีและกษัตริย์ในอิตาลีแต่เป็นยุคที่สงบสุขของชาวยุโรปเพราะมันเป็นเกือบหนึ่งร้อยปีที่มันไม่มีสงครามเป็นยุคแห่งการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมชาตินิยมและอาณานิคมและสิ่งเหล่านี้มีบุคคลที่มีชื่อว่าคาร์ลมาร์กซ์

ซึ่งได้มองเห็นว่าจุดเหล่านี้ไม่ได้หมายถึงการพัฒนาที่ผาสุขสำหรับคนทุกคนก่อนที่จะเริ่มต้นประวัติเราไปดูแนวคิดปรัชญาของเขากันหน่อยมีองค์ประกองอยู่3หลักประกอบ ข้อแรก คือปรัชญาเยอรมัน ข้อสององค์ประกอบสังคมนิยมฝรั่งเศส ข้อสามคือเศรษฐกิจแบบอังกฤษในยุคการปฏิวัติอุตสาหกรรม

 

สนับสนุนเน้ือหาโดย    ทางเข้า ufabet ภาษาไทย