ตำนาน ตระกูลฮิมุโระ

สำหรับคนประเทศญี่ปุ่นย่อมเคยได้ยินตำนานเกี่ยวกับตระกูลฮิมุโระและอาจจะเคยเห็นหรือเคยไปชมคฤหาสน์ฮิมุโระกันมาแล้ว  ตำนาน ตระกูลฮิมุโระ  ซึ่งตระกูลนี้เป็นตระกูลเก่าแก่มีอายุเกินกว่า 100 ปีมาแล้วโดยปัจจุบันนี้ตระกูลนี้ไม่มีสมาชิกหรือผู้สืบทอดตระกูลแล้วนั่นเองสำหรับตำนานของตระกูลฮิมุโระนั้นว่ากันว่าตระกูลฮิมุโระมีคฤหาสน์หลังใหญ่ตั้งอยู่บนภูเขา

อยู่ท่ามกลางธรรมชาติโดยภายในบริเวณใต้ดินของคฤหาสน์แห่งนี้

ตำนาน ตระกูลฮิมุโระ นั้นว่ากันว่าจะมีประตูที่เชื่อมต่อระหว่างโลกมนุษย์กับโลกวิญญาณอยู่และคนในตระกูลฮิมุโระ จะมีหน้าที่ที่จะคอยขัดขวางไม่ให้วิญญาณร้ายมายังโลกมนุษย์ได้โดยตระกูลนี้จะมีการทำพิธีทุกๆ 50 ปีซึ่งพิธีกรรมที่ว่านี้เป็นพิธีกรรมที่ชื่อว่าพิธีรัดคอ

             โดยความเชื่อของคนในตระกูลเชื่อว่าทุกๆ 50 ปีนั้นจะต้องมีการนำหญิงสาวที่ยังคงความบริสุทธิ์เอาไว้ไปทำการสังเวยชีวิตเพื่อป้องกันไม่ให้ปีศาจร้ายข้ามมายังโลกมนุษย์ได้ซึ่งวิธีการทำพิธีกรรมนั้นก็คือพวกเขาจะต้องมีการคัดเลือกเด็กสาวเอาไว้ตั้งแต่ตอนเป็นเด็กๆหลังจากนั้นเด็กสาวคนนั้นก็จะถูกนำไปเลี้ยงแยกกับคนอื่นๆไม่ให้พบปะหรือเจอกับผู้คนเพื่อป้องกันเด็กสาวมีความรักและป้องกันเหตุการณ์ที่อาจจะทำให้เด็กสาวนั้นกลายเป็นเด็กสาวที่ไม่ใช่เด็กบริสุทธิ์นั่นเอง

สำหรับพิธีกรรมที่ว่านี้เมื่อถึงวันทำพิธีกรรมเด็กสาวจะถูกนำมายืนอยู่ตรงกลางแล้วมีเชือกมัดทั้งหมด 5 จุดด้วยกัน

เลยจะเอาเชือกมัดที่ขาทั้งสองข้างและที่แขนทั้งสองข้างแล้วก็มาที่คออีกฝั่งนึงของเชือกนั้นก็จะผูกติดไว้กับม้าเพื่อให้ม้านั้นดึงร่างของเด็กสาวจนฉีกขาดและเมื่อเชื่อเปียกชุ่มไปด้วยเรื่อยๆคนในตระกูลฮิมุโระ จะนำเชือกนั้นไปไว้ตรงบริเวณประตูทางเข้าซึ่งเป็นประตูเชื่อมระหว่างโลกมนุษย์กับโลกปีศาจนั่นเอง 

          อย่างไรก็ตามว่ากันว่ามีเหตุการณ์ล่าสุดที่เด็กสาวที่พวกเขาเลี้ยงไว้นั้นเกิดแอบไปหลงรักกับเด็กหนุ่มทำให้เขาจับได้และทางผู้นำตระกูลฮิมุโระ  มองว่าพิธีกรรมนั้นคงไม่สามารถยับยั้งปีศาจได้เพราะว่าหญิงสาวไม่บริสุทธิ์แล้วดังนั้นเพื่อเป็นการไถ่โทษเขาจึงได้มีการฆ่าทุกคนในตระกูลของเขาด้วยการใช้ดาบซามูไรฟันจนเสียชีวิตเพื่อเป็นการสังเวยความผิดของคนในตระกูล

                หลังจากนั้นก็นำหญิงสาวที่แอบไปมีความรักคนนั้นมาทำพิธีกรรมด้วยการเข้าพิธีรัดคอหลังจากที่ทำพิธีกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วเขาก็ฆ่าตัวตายตามคนในตระกูลไปซึ่งนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา คฤหาสน์ของตระกูลฮิมุโระ ก็กลายเป็นคฤหาสน์ร้างและถึงแม้ว่าจะมีตระกูลอื่นมาอาศัยอยู่ที่คฤหาสน์แห่งนี้แต่ก็มักจะเจอเรื่องราวน่ากลัวจนไม่มีใครสามารถอยู่ได้นั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.   ufabet ฝากเงิน ออโต้

ตำนาน อุ้มพระดำน้ำ ประเพณีดีงาม ของเมืองมะขามหวานจังหวัดเพชรบูรณ์

หากพูดถึงตำนานหรือ ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ นั้นในประเทศไทยเองมีประเพณีมากมายหลายจังหวัดด้วยกันเนื่องจากว่าพระพุทธรูปนั้นนับได้ว่าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่อยู่คู่กับประเทศไทยหรือเป็นศักดิ์สิทธิ์ประจำบ้านเมืองและประจำจังหวัดคนไทยให้ความเคารพนับถือพระพุทธรูปกันเป็นอย่างมากดังนั้นจึงมีความเชื่อและความศรัทธาในพระพุทธรูปที่ประดิษฐานอยู่ในจังหวัดของตนเองและก่อเกิดเป็นตำนานเล่าขานกันต่อๆกันมามากมายหลายรุ่น

           สำหรับตำนานที่เราจะพูดถึงกันในครั้งนี้นั้นเป็นตำนานของจังหวัดเพชรบูรณ์เมืองมะขามหวานซึ่งตำนานที่ว่านั้นก็จะเป็นตำนานของการอุ้มพระพุทธรูปดำน้ำโดยพระพุทธรูปนั้นจะถูกอุ้มไปทำพิธีที่กลางลุ่มแม่น้ำป่าสักซึ่งองค์พระพุทธรูปที่ชาวบ้านให้ความเคารพนับถือและใช้ประกอบพิธีตามตำนานนั่นก็คือพระพุทธมหาธรรมราชา  ซึ่งไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่าพระพุทธรูปองค์นี้สร้างขึ้นมาตั้งแต่เมื่อไหร่แต่เป็นพระพุทธรูปที่มีความงดงามมากโดยสร้างมาจากทองสำริดเป็นปรางค์สมาธิ

          อย่างไรก็ตามลักษณะของพระพุทธรูปนั้นถูกออกแบบมาในรูปแบบของศิลปะขอมและจากการตรวจสอบก็พบว่าพระพุทธรูปนี้เป็นพระพุทธรูปที่เก่าแก่อายุหลายร้อยปีโดยครั้งแรกนั้นมีชาวประมงคนหนึ่งได้มีการออกหาปลาด้วยการล่องเรือและทอดแหไปเรื่อยๆในแม่น้ำป่าสักแต่แล้ววันหนึ่งก็เกิดมีพายุฝนลมแรงขึ้นซึ่งพายุฝนนั้นตกหนักรุนแรงอย่างมากแต่เกิดขึ้นเพียงแค่เวลาไม่นานเท่านั้น

         ประเพณีอุ้มพระดำน้ำ  หลังจากที่พายุสงบลงปรากฏว่ามีพระพุทธรูปองค์หนึ่งลอยตามน้ำมาทำให้ชาวประมงที่อยู่ในเหตุการณ์รวมถึงชาวบ้านเริ่มบ้านใกล้เรือนเคียงที่เห็นเหตุการณ์ต่างก็ ศรัทธาในพระพุทธรูปองค์นี้เป็นอย่างมากและได้มีการอัญเชิญพระพุทธรูปขึ้นจากน้ำนำไปประดิษฐานที่วัดไตรภูมิหลังจากนั้นก็มีการถวายเครื่องประดับของกษัตริย์ให้กับพระพุทธรูปโดยเป็นชุดนักรบขอมสมัยโบราณ

           นับตั้งแต่ที่ชาวบ้านมีการอัญเชิญพระพุทธรูปมาไว้ที่วัดว่ากันว่าในทุกๆปีในช่วงของวันสารทซึ่งจะตรงกับวันแรม 15 ค่ำพระพุทธรูปจะหายไปจากวัดโดยที่ไม่มีใครรู้ว่าพระพุทธรูปหายไปไหนและชาวบ้านเมื่อออกตามหากันก็มักจะเห็นว่าพระพุทธรูปองค์เดิมนั้นจะรออยู่ในแม่น้ำซึ่งเป็นจุดเดียวกับที่ชาวบ้านเจอพระพุทธรูปครั้งแรกและนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพอถึงวันสารทชาวบ้านก็จะมีการอัญเชิญพระพุทธรูปไปสกอร์พิธีดำน้ำตามประเพณีซึ่งปัจจุบันก็เรียกกันประเพณีว่าประเพณีอุ้มพระดำน้ำนั่นเอง 

         ปัจจุบันที่จังหวัดเพชรบูรณ์ยังสืบสานประเพณีต่อกันมาโดยคนที่จะมาอุ้มพระพุทธรูปไปประกอบพิธีดำน้ำนั้น ในสมัยโบราณจะต้องเป็นเจ้าเมืองหรือพ่อเมือง  แต่สำหรับในยุคปัจจุบันนั้นก็จะใช้เป็นผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้ดำเนินการเป็นประธานในพิธีอุ้มพระพุทธมหาธรรมราชาลงไปในน้ำป่าสัก ซึ่งประเพณีนี้ชาวบ้านเชื่อว่าจะสร้างความสงบร่มเย็นให้กับชาวจังหวัดเพชรบูรณ์นั่นเอง 

 

สนับสนุนโดย.   ufabet ฝากเงิน ออโต้